ความรู้

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ปิโตรเลียม”

ปิโตรเลียม (petroleum) มาจากภาษาละติน ซึ่งประกอบด้วยคำว่า petra แปลว่า หิน + คำว่า oleum ซึ่งแปลว่า น้ำมัน รวมกันหมายถึง "น้ำมันที่ได่จากหิน" หรือน้ำมันดิบ ซึ่งเป็นของเหลวไวไฟที่เกิดเองตามธรรมชาติประกอบด้วย สารผสมซับซ้อนระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างกัน สารประกอบอินทรีย์เป็นของเหลวอื่นๆ ซึ่งพบในชั้นธรณีวิทยา ใต้ผิวโลก เป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิต (มักเป็นแพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่ายจำนวนมาก) ทับถมกันใต้หินตะกอนและได้รับความร้อนและความดันมหาศาล

ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ท้ั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก้ส ขึ้นอยูกับองคประกอบรวมถึงความร้อน และความดัน ของสภาพแวดลอมในการเกิดและการกักเก็บปโตรเลียม ซึ่งจำแนกไดเปน 2 ชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบ และแกสธรรมชาติ โดย แกสธรรมชาตินั้นประกอบดวย คารบอนตั้งแต 1-4 อะตอม การขุดเจาะน้ำมันเปนวิธีการสวนใหญ ในการไดมาซึ่งปโตรเลียม ซึ่งเปนขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสรางธรณีวิทยาการวิเคราะหแองตะกอน และลักษณะหินกักเก็บ ปโตรเลียมหลังขุดเจาะขึ้นมาแลว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเปน ผลิตภัณฑบริโภคหลายชนิด ตั้งแตแกสโซลีนและน้ำมันกาด ไปจนถึงยางมะตอย และตัวทำปฏิกิริยาเคมี ซึ่งใชในการทำพลาสติก และเภสัชภัณฑ นอกจากนี้ปโตรเลียมยังใชในการผลิตวัสดุ อีกหลายชนิด.

การทำความสะอาดกาซธรรมชาติ จะนำมาใชนั้นมีกระบวนการไหนบาง เริ่มจากกาซธรรมชาติที่ขุดขึ้นมาจากหลุมผลิตกอนเลยครับ หากเราเจอกาซที่เต็มไปดวยไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) กระบวนการที่ตองนำมาใชในการแยกกาซกรด (H2S) ออกจากกาซธรรมชาติ เรียกวา Gas Sweetening Process ซึ่งจะทำใหกาซธรรมชาติเหลือกาซกรดอยูเพียง 3 ppm

ทำไมจะต้องแยกก๊าซกรด (H2S) ออกจากก๊าซธรรมชาติ สาเหตุก็เพราะวาตองการลดตนทุนในการกอสรางและสรางมูลคาเพิ่มใหกับกาซธรรมชาติ ที่บอกวาลดตนทุน ในการกอสรางนั้นทำยังไง กาซกรด (H2S) ที่อยูในกาซธรรมชาติเปนสาเหตุหลักที่ทำใหเกิดการกัดกรอน (Corrosion) ดังนั้นในชวงของการออกแบบวิศวกรกระบวนการ (Process Engineer) จะตองทำคำนวณหาความหนาของทอและอุปกรณตางๆ โดยใชความเขมขนของกาซกรดเปนตัวกำหนด ซึ่งหากความเขมขนอยูในเกณฑสูง คาใชจายในการกอสรางก็จะตองสูง ตามไปดวย ดังนั้นเพื่อลดคากอสราง การกำจัดกาซกรดออกจากระบบจึงเปนสิ่งที่จะตองดำเนินการ

บริษัทฯ มีแผนจะพัฒนา สำรวจ และเพิ่มผลผลิตน้ำมันดิบในจังหวัดเพชรบูรณ์ และมีเป้าหมายเพิ่มการผลิตน้ำมันให้ได้ 4,600 BOPD ภายในสิ้นปี 2556 และวางแผนในการขยายพื้นที่ ไปในสัมปทานอื่นๆในประเทศไทย ในเวลาอันใกล้

กระบวนการคร่าวๆ ของหน่วยนี้ก็คือ Sour Gas (หมายเลข 1) จะเขาสู หอแยกทางดานลาง ทางดานบนของหอแยกจะฉีด MDEA (หมายเลข 4) ซึ่งเปนสารเคมี ชนิดหนึ่งสวนทางลงมา เพื่อเขาทำปฎิกิริยากับ H2S ที่อยูในกาซธรรมชาติ จากนั้น กาซธรรมชาติปราศจากกาซกรด (Sweet Gas) ก็จะออกไปทางดานบนของหอ (หมายเลข 2) สวนหมายเลข 3 คือ MDEA+H2S ซึ่งจะถูกสงไป รีเจนเนอรเรทเพื่อรักษาความเขมขนของ MDEA และ H2S (หมายเลข 5) จะออกทางดานบนของ เจนเนอรเรเตอรเพื่อถูกสงไปยัง Surfur Recovery Unit ตอไป